"สะพานมิตรภาพสร้างเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตที่สดใส ก้าวไกลการศึกษา พระหยกล้ำค่า ภูมิปัญญาวัฒนธรรมพื้นเมือง รุ่งเรืองกสิกรรม"
ยุทธศาสตร์การพัฒนา

ประกาศเมื่อ 12 มกราคม 2564 เปิดอ่าน 1441 ครั้ง พิมพ์

ยุทธศาสตร์การพัฒนาของเทศบาลตำบลแม่สายมิตรภาพ
1. ความสัมพันธ์ระหว่างแผนพัฒนาระดับมหาภาค
1.1 แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580)
ในการที่จะบรรลุวิสัยทัศน และทำใหประเทศไทยพัฒนาไปสูอนาคตที่พึงประสงค นั้นจำเป็นจะตองมีการ
วางแผนและกำหนดยุทธศาสตร การพัฒนาในระยะยาวและกำหนดแนวทางการพัฒนาของทุกภาคส่วนให้
ขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้นจึงจำเป็นจะต้องกำหนดยุทธศาสตร ชาติในระยะยาวเพื่อถ่ายทอดแนว
ทางการพัฒนาสู่การปฏิบัติในแต่ละช่วงเวลาอย่างต่อเนื่องและมีการบูรณาการและสร้างความเข้าใจถึงอนาคตของ
ประเทศไทยร่วมกัน และเกิดการรวมพลังของทุกภาคส่วนในสังคมทั้งประชาชน เอกชน ประชาสังคมในการ
ขับเคลื่อนการพัฒนาเพื่อการสร้างและรักษาไวซึ่งผลประโยชน์ แห่งชาติและบรรลุวิสัยทัศน์ประเทศคือ “ประเทศ
ไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศ ที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ”
โดยมีเปู้าหมาย การพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอยําง ตํอเนื่อง
สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” โดยยกระดับศักยภาพของ ประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนใน
ทุกมิติและในทุกชํวงวัยให้เป็นคนดีเก่ง และ มีคุณภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโต
บนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ สํวนรวม

โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติประกอบด้วย
๑) ความอยูํดีมีสุขของคนไทยและสังคมไทย
๒) ขีดความสามารถในการแขํงขัน การพัฒนาเศรษฐกิจและการกระจายรายได้
๓) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ
๔) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสังคม
๕) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดล้อม และความยั่งยืนของ ทรัพยากรธรรมชาติ
๖) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการเข้าถึงการให๎บริการของภาครัฐ
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
ยุทธศาสตร๑ชาติด๎านความมั่นคง มีเปู้าหมายการพัฒนาที่่สำ คัญคือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมี
ความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของ ประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย และมี
ความสงบเรียบร้อยในทุก ระดับ ตั้งแตํระดับชาติ สังคม ชุมชน มุํงเน้นการพัฒนาคน เครื่องมือ เทคโนโลยี และ
ระบบฐานข้อมูลขนาดใหญํให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติได้ ทุกรูปแบบ และทุกระดับ
ความรุนแรง ควบคู่ไปกับการปู้องกันและแก้ไขปัญหาด้าน ความมั่นคงที่มีอยู่ในปัจจุบัน และ ที่อาจจะเกิดขึ้นใน
อนาคต ใชั้กลไกการแก้ไขปัญหา แบบบูรณาการทั้งกับสํวนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรที่ไมํใช่รัฐ
รวมถึงประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศทั่วโลกบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล
ตัวชี้วัด ประกอบด้วย (1) ความสุขของประชากรไทย (2) ความมั่นคง ปลอดภัยของประเทศ (3) ความ
พร้อมของกองทัพ หนํวยงานด้านความมั่นคง และการมีสํวนรํวมของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนใน
การปู้องกันและแก้ไขปัญหา ความมั่นคง (4) บทบาทและการยอมรับในด้านความมั่นคงของไทยในประชาคม
ระหวํางประเทศ และ (5) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม โดยประเด็น ยุทธศาสตร์ชาติ
ด้านความมั่นคง ประกอบด้วย 5 ประเด็น ได้แกํ
1. การรักษาความสงบภายในประเทศ เพื่อสร๎างเสริมความสงบเรียบร้อย และสันติสุขให้เกิดขึ้นกับ
ประเทศชาติบ้านเมือง โดย (1) การพัฒนาและเสริมสร้างคน ในทุกภาคสํวนให้มีความเข้มแข็ง มีความพร้อม
ตระหนักในเรื่องความมั่นคง และมีสํวนรํวมในการแก้ไขปัญหา (2) การพัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีตํอ
สถาบัน หลักของชาติ (3) การพัฒนาและเสริมสร้างการเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุขที่มีเสถียรภาพและมีธรรมาภิบาล เห็นแกํประโยชน์ของ ประเทศชาติมากกวําประโยชน์สํวนตน และ
(4) การพัฒนาและเสริมสร้างกลไก ที่สามารถป้องกันและขจัดสาเหตุของประเด็นปัญหาความมั่นคงที่สำคัญ
2. การปูองกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบตํอความมั่นคง เพื่อแก้ไข ปัญหาเดิม และป้องกันไมํให้ปัญหา
ใหมํเกิดขึ้น โดย (1) การแก้ไขปัญหาความมั่นคง ในปัจจุบัน (2) การติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาที่
อาจอุบัติขึ้นใหมํ (3) การสร๎างความปลอดภัยและความสันติสุขอยํางถาวรในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ (4)
การรักษาความมั่นคงและผลประโยชน์ทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งทางบกและทางทะเล
3. การพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบตํอ ความมั่นคงของชาติเพื่อ
ยกระดับขีดความสามารถของกองทัพและหนํวยงานด๎าน ความมั่นคง โดย (1) การพัฒนาระบบงานขําวกรอง
แหํงชาติแบบบูรณาการอยํางมีประสิทธิภาพ (2) การพัฒนาและผนึกพลังอำนาจแหํงชาติ กองทัพและหนํวยงาน
ความมั่นคง รวมทั้งภาครัฐและภาคประชาชน ให้พร้อมป้องกันและรักษาอธิปไตยของประเทศ และเผชิญกับภัย
คุกคามได้ทุกมิติทุกรูปแบบและทุกระดับ และ (3) การพัฒนา ระบบเตรียมพร้อมแห่งชาติและการบริหารจัดการ
ภัยคุกคามให๎มีประสิทธิภาพ
4. การบูรณาการความร่วมมือด้านความมั่นคงกับอาเซียนและนานาชาติ รวมถึงองค์กรภาครัฐและที่มิใชํ
ภาครัฐ เพื่อสร้างเสริมความสงบสุข สันติสุข ความมั่นคง และความเจริญ ก้าวหน้า ให้กับประเทศชาติ ภูมิภาค
และโลก อยํางยั่งยืน โดย (1) การ เสริมสร้างและรักษาดุลยภาพสภาวะแวดล้อมระหวํางประเทศ (2) การ
เสริมสร้างและธำรงไว๎ซึ้งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค และ (3) การร่วมมือทางการพัฒนากับ ประเทศ
เพื่อนบ้าน ภูมิภาค โลก รวมถึงองค์กรภาครัฐและที่มิใช่ภาครัฐ
5. การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม เพื่อให้กลไกสำคัญตําง ๆ ทำงานได้อยํางมี
ประสิทธิภาพ มีการใช้หลักธรรมาภิบาล และ การบังคับใช้กฎหมายอย่างเครํงครัด โดย (1) การพัฒนากลไกให้
พร้อมสำหรับ การติดตาม เฝ้าระวัง แจ้งเตือน ป้องกัน และแก้ไขปัญหาความมั่นคงแบบองค์รวม อยํางเป็น
รูปธรรม (2) การบริหารจัดการความมั่นคงให้เอื้ออำนวยต่อการพัฒนา ประเทศในมิติอื่น ๆ และ (3) การพัฒนา
กลไกและองค์กรขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแขํงขัน มีเป้าหมาย การพัฒนาที่มุํงเน้นการยกระดับ
ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพื้นฐาน แนวคิด 3 ประการ ได้แกํ (1) “ตํอยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่
รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเดํนทางทรัพยากรธรรมชาติ ที่หลากหลาย
รวมทั้งความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศในด้านอื่น ๆ นำมาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและ
นวัตกรรม เพื่อให้สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจ และสังคมโลกสมัยใหมํ (2) “ปรับปัจจุบัน” เพื่อปูทางสูํอนาคต
ผํานการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานของประเทศในมิติตําง ๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนสํง โครงสร้างพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทัล และการปรับสภาพแวดล้อม ให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการ
อนาคต และ (3) “สร้างคุณคําใหม่ ในอนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุํนใหมํ รวมถึง
ปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองตํอความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ ที่รองรับอนาคต บน
พื้นฐานของการตํอยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมทั้งการสํงเสริม และสนับสนุนจากภาครัฐ ให้ประเทศไทย
สามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนในเวทีโลก ควบคูํไปกับการ
ยกระดับรายได้และ การกินดีอยูํดี รวมถึงการเพิ่มขึ้นของคนชั้นกลางและลดความเหลื่อมล้ำของคน ในประเทศได้
ในคราวเดียวกัน
ตัวชี้วัด ประกอบด๎วย (1) รายได้ประชาชาติ การขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ และการ
กระจายรายได้ (2) ผลิตภาพการผลิตของประเทศ ทั้งในปัจจัยการผลิตและแรงงาน (3) การลงทุนเพื่อการวิจัยและ
พัฒนา และ (4) ความสามารถในการแขํงขันของประเทศ โดยประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้าง ความสามารถ
ในการแขํงขัน ประกอบด๎วย 5 ประเด็น
1. การเกษตรสร้างมูลค่า ให้ความสำคัญกับการเพิ่มผลิตภาพการผลิต ทั้งเชิงปริมาณและมูลคํา และความ
หลากหลายของสินค้ำเกษตร ประกอบด้วย (1) เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น (2) เกษตรปลอดภัย (3) เกษตรชีวภาพ (4)
เกษตรแปรรูป และ (5) เกษตรอัจฉริยะ
2. อุตสาหกรรมและบริการแหํงอนาคต โดยสร้างอุตสาหกรรมและบริการ แหํงอนาคตที่ขับเคลื่อน
ประเทศไทยไปสูํประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยนวัตกรรมและ เทคโนโลยีแหํงอนาคต ประกอบด้วย (1) อุตสาหกรรม
ชีวภาพ (2) อุตสาหกรรมและบริการการแพทย์ครบวงจร (3) อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูล และปัญญา
ประดิษฐ์ (4) อุตสาหกรรมและบริการขนสํงและโลจิสติกส์และ (5) อุตสาหกรรม ความมั่นคงของประเทศ
3. สร้างความหลากหลายด้านการทํองเที่ยว โดยการรักษาการเป็นจุดหมายปลายทางที่สำคัญของการ
ทํองเที่ยวระดับโลกที่ดึงดูดนักทํองเที่ยวทุกระดับและเพิ่มสัดสํวนของนักทํองเที่ยวที่มีคุณภาพสูง ประกอบด้วย (1)
ทํองเที่ยวเชิง สร้างสรรค์และวัฒนธรรม (2) ทํองเที่ยวเชิงธุรกิจ (3) ทํองเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผน
ไทย (4) ทํองเที่ยวสำราญทางน้้ำ และ (5) ทํองเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค
4. โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก ครอบคลุมถึงโครงสร๎างพื้นฐาน ทางกายภาพในด๎านโครงขําย
คมนาคม พื้นที่และเมือง รวมถึงเทคโนโลยี ตลอดจน โครงสร๎างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ โดย (1) เชื่อมโยงโครงข่าย
คมนาคมไร๎รอยตํอ (2) สร้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ (3) เพิ่มพื้นที่และเมืองเศรษฐกิจ (4) พัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐานเทคโนโลยีสมัยใหมํ และ (5) รักษาและเสริมสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ มหภาค
5. พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู๎ประกอบการยุคใหมํ สร้างและพัฒนา ผู้ประกอบการยุคใหมํ ที่มีทักษะ
และจิตวิญญาณของการเป็นผู้ประกอบการที่มีความสามารถในการแขํงขันและมีอัตลักษณ์ชัดเจน โดย (1) สร้าง
ผู้ประกอบการอัจฉริยะ (2) สร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการเงิน (3) สร้างโอกาสเข้าถึงตลาด (4) สร้างโอกาส
เข้าถึงข้อมูล และ (5) ปรับบทบาทและโอกาสการเข้าถึงบริการภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญ
เพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชํวงวัยให้เป็นคนดี เกํง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ
สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด๎าน และมีสุขภาวะที่ดีในทุกชํวงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบตํอสังคมและผู้อื่น
มัธยัสถ์อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิด ที่ถูกต้อง มีทักษะที่
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)
จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้
และการพัฒนาตนเองอยํางตํอเนื่องตลอด ชีวิต สูํการเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู๎ประกอบการ
เกษตรกรยุคใหมํและอื่น ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง
ตัวชี้วัด ประกอบด๎วย (1) การพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และความเป็นอยู่ ที่ดีของคนไทย (2)
ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและการเรียนรู๎ตลอดชีวิต และ (3) การพัฒนา สังคมและครอบครัวไทย โดยประเด็น
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ประกอบด๎วย 7 ประเด็น ได้แกํ
1. การปรับเปลี่ยนคํานิยมและวัฒนธรรม มุํงเน้นให้สถาบันทางสังคมรํวม ปลูกฝังคํานิยมและวัฒนธรรมที่
พึงประสงค์โดย (1) การปลูกฝังคํานิยมและวัฒนธรรม ผํานการเลี้ยงดูในครอบครัว (2) การบูรณาการเรื่องความ
ซื่อสัตย์ วินัย คุณธรรม จริยธรรม ในการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา (3) การสร้างความเข้มแข็งในสถาบัน
ทางศาสนา (4) การปลูกฝังคํานิยมและวัฒนธรรมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (5) การสร้างคํานิยมและวัฒนธรรมที่พึง
ประสงค์จากภาคธุรกิจ (6) การใช้สื่อและสื่อสารมวลชนในการปลูกฝังคํานิยมและวัฒนธรรมของคนในสังคม และ
(7) การสํงเสริมให้คนไทยมีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบตํอส่วนรวม
2. การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชํวงชีวิต มุํงเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพ ในทุกชํวงวัย ประกอบด้วย (1)
ชํวงการตั้งครรภ์/ปฐมวัย เน้นการเตรียมความพร้อม ให้แก่พ่อแม่กํอนการตั้งครรภ์ (2) ชํวงวัยเรียน/วัยรุํน ปลูกฝัง
ความเป็นคนดี มีวินัย พัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่สอดรับกับศตวรรษที่ 21 (3) ชํวงวัยแรงงาน ยกระดับ ศักยภาพ
ทักษะและสมรรถนะแรงงานสอดคล้องกับความต้องการของตลาด และ (4) ชํวงวัยผู้สูงอายุ สํงเสริมให้ผู้สูงอายุเป็น
พลังในการขับเคลื่อนประเทศ
3. ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองตํอการเปลี่ยนแปลงใน ศตวรรษที่ 21 มุํงเน้นผู้เรียนให้มีทักษะ
การเรียนรู๎และมีใจใฝุเรียนรู๎ตลอดเวลา โดย (1) การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู๎ให๎เอื้อตํอการพัฒนาทักษะสำหรับ
ศตวรรษที่ 21 (2) การเปลี่ยนโฉมบทบาท “ครู” ให๎เป็นครูยุคใหมํ (3) การเพิ่มประสิทธิภาพระบบ บริหารจัด
การศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท (4) การพัฒนาระบบการเรียนรู๎ตลอดชีวิต (5) การสร๎างความตื่นตัวให๎คนไทย
ตระหนักถึงบทบาท ความรับผิด ชอบ และการวางตำแหนํงของประเทศไทยในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และ
ประชาคมโลก (6) การวาง พื้นฐานระบบรองรับการเรียนรู๎โดยใช๎ดิจิทัลแพลตฟอร์ม และ (7) การสร๎างระบบ
การศึกษาเพื่อเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ
4. การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย โดย (1) การพัฒนา และสํงเสริมพหุปัญญาผําน
ครอบครัว ระบบสถานศึกษา สภาพแวดล้อม รวมทั้งสื่อ ตั้งแตํระดับปฐมวัย (2) การสร๎างเส๎นทางอาชีพ
สภาพแวดล๎อมการทำงาน และระบบ สนับสนุน ที่เหมาะสมสำหรับผู๎มีความสามารถพิเศษผํานกลไกตําง ๆ และ
(3) การดึงดูด กลุํมผู๎เชี่ยวชาญตํางชาติและคนไทยที่มีความสามารถในตํางประเทศให๎มาสร๎างและพัฒนา
เทคโนโลยีและนวัตกรรมให๎กับประเทศ
5. การเสริมสร๎างให๎คนไทยมีสุขภาวะที่ดี ครอบคลุมทั้งด๎านกาย ใจ สติปัญญา และสังคม โดย (1) การ
สร๎างความรอบรู๎ด๎านสุขภาวะ (2) การป้องกันและ ควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะ (3) การสร๎าง
สภาพแวดล๎อมที่เอื้อตํอการมีสุขภาวะ ที่ดี (4) การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัยสนับสนุนการสร๎างสุขภาวะ
ที่ดีและ (5) การสํงเสริมให๎ชุมชนเป็นฐานในการสร๎างสุขภาวะที่ดีในทุกพื้นที่
6. การสร๎างสภาพแวดล๎อมที่เอื้อตํอการพัฒนาและเสริมสร๎างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย๑โดย (1) การสร๎าง
ความอยูํดีมีสุขของครอบครัวไทย (2) การสํงเสริม บทบาทการมีสํวนรํวมของภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครอง
สํวนท๎องถิ่น ครอบครัว และชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (3) การปลูกฝังและพัฒนาทักษะนอก ห๎องเรียน
และ (4) การพัฒนาระบบฐานข๎อมูลเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
7. การเสริมสร๎างศักยภาพการกีฬาในการสร๎างคุณคําทางสังคมและ พัฒนาประเทศ โดย (1) การสํงเสริม
การออกกำลังกาย และกีฬาขั้นพื้นฐานให๎กลายเป็น วิถีชีวิต (2) การสํงเสริมให๎ประชาชนมีสํวนรํวมในกิจกรรมออก
กำลังกาย กีฬาและ นันทนาการ (3) การสํงเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสูํระดับอาชีพ และ (4) การพัฒนา บุคลากร
ด๎านการกีฬาและนันทนาการเพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมกีฬา
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
ยุทธศาสตร์ชาติด๎านการสร๎างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมาย การพัฒนาที่สำคัญที่ให๎
ความสำคัญการดึงเอาพลังของภาคสํวนตําง ๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชนท๎องถิ่นมารํวมขับเคลื่อน โดย
การสนับสนุนการรวมตัวของ ประชาชนในการรํวมคิดรํวมทําเพื่อสํวนรวม การกระจายอำนาจและความรับผิดชอบ
ไปสูํกลไกบริหารราชการแผํนดินในระดับท๎องถิ่น การเสริมสร๎างความเข๎มแข็งของชุมชน ในการจัดการตนเอง และ
การเตรียมความพร๎อมของประชากรไทยทั้งในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล๎อมให๎เป็นประชากรที่มี
คุณภาพ สามารถพึ่งตนเอง และทำประโยชน์แกํครอบครัว ชุมชน และสังคมให๎นานที่สุด โดยรัฐให๎หลักประกัน
การเข๎าถึงบริการและสวัสดิการที่มีคุณภาพอยํางเป็นธรรมและทั่วถึง
ตัวชี้วัด ประกอบด๎วย (1) ความแตกตํางของรายได๎และการเข๎าถึงบริการ ภาครัฐระหวํางกลุํมประชากร
(2) ความก๎าวหน๎าของการพัฒนาคน (3) ความก๎าวหน๎า ในการพัฒนาจังหวัดในการเป็นศูนย๑กลางความเจริญทาง
เศรษฐกิจ สังคม และ เทคโนโลยี และ (4) คุณภาพชีวิตของประชากรสูงอายุ โดยประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด๎าน การ
สร๎างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประกอบด๎วย 4 ประเด็น ได๎แกํ
1. การลดความเหลื่อมล้้ำ สร๎างความเป็นธรรมในทุกมิติ โดย (1) ปรับ โครงสร๎างเศรษฐกิจฐานราก (2)
ปฏิรูประบบภาษีและการคุ๎มครองผู๎บริโภค (3) กระจาย การถือครองที่ดินและการเข๎าถึงทรัพยากร (4) เพิ่มผลิต
ภาพและคุ๎มครองแรงงานไทย ให๎เป็นแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพและความริเริ่มสร๎างสรรค์ มีความปลอดภัยในการ
ทำงาน (5) สร๎างหลักประกันทางสังคมที่ครอบคลุมและเหมาะสมกับคนทุกชํวงวัย ทุกเพศภาวะ และทุกกลุํม (6)
ลงทุนทางสังคมแบบมุํงเป้าเพื่อชํวยเหลือกลุํมคนยากจนและกลุํม ผู๎ด๎อยโอกาสโดยตรง (7) สร๎างความเป็นธรรมใน
การเข๎าถึงบริการสาธารณสุข และการศึกษา โดยเฉพาะสำหรับผู๎มีรายได๎น๎อยและกลุํมผู๎ด๎อยโอกาส และ (8) สร๎าง
ความเป็นธรรมในการเข๎าถึงกระบวนการยุติธรรมอยํางทั่วถึง
2. การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี โดย (1) พัฒนาศูนย์กลางความ
เจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีในภูมิภาค (2) ก าหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแตํละกลุํม
จังหวัดในมิติตําง ๆ (3) จัดระบบเมืองที่เอื้อตํอการสร๎างชีวิตและสังคมที่มีคุณภาพและปลอดภัย ให๎สามารถ
ตอบสนองตํอสังคมสูงวัยและแนวโน๎มของการขยายตัวของเมืองในอนาคต (4) ปรับ โครงสร๎างและแก๎ไขกฎหมาย
ระเบียบบริหารราชการแผํนดิน เพื่อวางระบบและกลไก การบริหารงานในระดับภาค กลุํมจังหวัด (5) สนับสนุน
การพัฒนาพื้นที่บนฐานข๎อมูล ความรู๎ เทคโนโลยีและนวัตกรรม และ (6) การพัฒนากำลังแรงงานในพื้นที่
3. การเสริมสร๎างพลังทางสังคม โดย (1) สร๎างสังคมเข๎มแข็งที่แบํงปัน ไมํทอดทิ้งกัน และมีคุณธรรม โดย
สนับสนุนการรวมตัวและดึงพลังของภาคสํวนตําง ๆ (2) การรองรับสังคมสูงวัยอยํางมีคุณภาพ (3) สนับสนุนความ
รํวมมือระหวํางภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคมและภาคประชาชน (4) สํงเสริมความเสมอ ภาค
ทางเพศและบทบาทของสตรีในการสร๎างสรรค์สังคม (5) สนับสนุนการพัฒนาบน ฐานทุนทางสังคมและวัฒนธรรม
และ (6) สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อสร๎างสรรค์ เพื่อรองรับสังคมยุคดิจิทัล
4. การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท๎องถิ่นในการพัฒนา การพึ่ง ตนเองและการจัดการตนเอง โดย (1)
สํงเสริมการปรับพฤติกรรมในระดับครัวเรือน ให๎มีขีดความสามารถในการจัดการวางแผนชีวิต สุขภาพ ครอบครัว
การเงินและอาชีพ (2) เสริมสร๎างศักยภาพของชุมชนในการพึ่งตนเองและการพึ่งพากันเอง (3) สร๎างการ มีสํวนรํวม
ของภาคสํวนตําง ๆ เพื่อสร๎างประชาธิปไตยชุมชน และ (4) สร๎างภูมิคุ๎มกัน ทางปัญญาให๎กับชุมชน
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร๑ชาติด๎านการสร๎างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรตํอสิ่งแวดล๎อม มีเป้าหมายการพัฒนาที่
สำคัญเพื่อนําไปสูํการบรรลุเปูาหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืนในทุกมิติ ทั้งมิติด๎านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล๎อม ธรรมาภิ
บาล และความเป็น หุ๎นสํวนความรํวมมือระหวํางกันทั้งภายในและภายนอกประเทศอยํางบูรณาการ ใช๎พื้นที่ เป็น
ตัวตั้งในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให๎ทุกฝุายที่เกี่ยวข๎องได๎เข๎ามา มีสํวนรํวมในแบบทางตรงให๎มาก
ที่สุดเทําที่จะเป็นไปได๎ โดยเป็นการดำเนินการบน พื้นฐานการเติบโตรํวมกัน ไมํวําจะเป็นทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล๎อม
และคุณภาพชีวิต โดยให๎ความสำคัญกับการสร๎างสมดุลทั้ง 3 ด๎าน อันจะนำไปสูํความยั่งยืนเพื่อคนรุํน ตํอไปอยําง
แท๎จริง
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)
ตัวชี้วัด ประกอบด๎วย (1) พื้นที่สีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล๎อม (2) สภาพแวดล๎อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมได๎รับการฟื้นฟู (3) การเติบโตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล๎อม และ (4) ปริมาณก๊าซ
เรือนกระจก มูลคําเศรษฐกิจฐานชีว ภาพ โดยประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด๎านการสร๎างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่
เป็นมิตรตํอ สิ่งแวดล๎อม ประกอบด๎วย 6 ประเด็น ได๎แกํ
1. สร๎างการเติบโตอยํางยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว โดย (1) เพิ่มมูลคํา ของเศรษฐกิจฐานชีวภาพให๎
สอดคล๎องกับยุทธศาสตร์ด๎านการสร๎างความสามารถ ในการแขํงขัน (2) อนุรักษ์และฟื้นฟูความหลากหลายทาง
ชีวภาพในและนอกถิ่นกำเนิด (3) อนุรักษ์และฟื้นฟูแมํน้ำลำคลองและแหลํงน้ำธรรมชาติทั่วประเทศ (4) รักษาและ
เพิ่ม พื้นที่สีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล๎อม และ (5) สํงเสริมการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
2. สร๎างการเติบโตอยํางยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล โดย (1) เพิ่ม มูลคําของเศรษฐกิจฐานชีวภาพ
ทางทะเล (2) ปรับปรุง ฟื้นฟู และสร๎างใหมํทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่งทั้งระบบ (3) ฟื้นฟูชายหาดที่เป็นแหลํง
ทํองเที่ยว ชายฝั่งทะเลได๎รับ การปูองกันและแก๎ไขทั้งระบบ และมีนโยบายการจัดการชายฝั่งแบบบูรณาการอยําง
เป็น องค์รวม และ (4) พัฒนาและเพิ่มสัดสํวนกิจกรรมทางทะเลที่เป็นมิตรตํอสิ่งแวดล๎อม
3. สร๎างการเติบโตอยํางยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรตํอสภาพภูมิอากาศ โดย (1) ลดการปลํอยก๊าซเรือน
กระจก (2) มีการปรับตัวเพื่อลดความสูญเสียและเสียหาย จากภัยธรรมชาติและผลกระทบที่เกี่ยวข๎องกับการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ยุทธศาสตร์ชาติด๎านการสร๎างการเติบโต บนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรตํอสิ่งแวดล๎อม
13 (3) มุํงเป้าสูํการลงทุนที่เป็นมิตรตํอสภาพภูมิอากาศในการพัฒนาโครงสร๎างพื้นฐาน ของภาครัฐและภาคเอกชน
และ (4) พัฒนาและสร๎างระบบรับมือปรับตัวตํอโรคอุบัติใหมํ และโรคอุบัติซ้ำที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
4. พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มุํงเน๎น ความเป็นเมืองที่เติบโตอยําง
ตํอเนื่อง โดย (1) จัดทำแผนผังภูมินิเวศเพื่อการพัฒนา เมือง ชนบท พื้นที่เกษตรกรรมและอุตสาหกรรม รวมถึง
พื้นที่อนุรักษ์ตามศักยภาพ และความเหมาะสมทางภูมินิเวศอยํางเป็นเอกภาพ (2) พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท
เกษตรกรรม และ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ที่มีการบริหารจัดการตามแผนผังภูมินิเวศ อยํางยั่งยืน (3) จัดการมลพิษที่
มีผลกระทบตํอสิ่งแวดล๎อม และสารเคมี ในภาคเกษตร ทั้งระบบ ให๎เป็นไปตามมาตรฐานสากลและคํา
มาตรฐานสากล (4) สงวนรักษา อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ มรดกทางสถาปัตยกรรมและ
ศิลปวัฒนธรรม อัตลักษณ์ และวิถีชีวิตพื้นถิ่นบนฐานธรรมชาติ และฐานวัฒนธรรมอยํางยั่งยืน (5) พัฒนา เครือขําย
องค์กรพัฒนาเมืองและชุมชน รวมทั้งกลุํมอาสาสมัคร ด๎วยกลไกการมีสํวนรํวม ของทุกภาคสํวนในท๎องถิ่น และ (6)
เสริมสร๎างระบบสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล๎อม และยกระดับความสามารถในการปูองกันโรคอุบัติใหมํและ
อุบัติซ้า
5. พัฒนาความมั่นคงน้ำ พลังงาน และเกษตรที่เป็นมิตรตํอสิ่งแวดล๎อม โดย (1) พัฒนาการจัดการน้ำเชิง
ลุํมน้ำทั้งระบบเพื่อเพิ่มความมั่นคงด๎านน้ำของประเทศ (2) เพิ่มผลิตภาพของน้ำทั้งระบบในการใช๎น้ำอยํางประหยัด
รู๎คุณคํา และสร๎างมูลคําเพิ่ม จากการใช๎น้ำให๎ทัดเทียมกับระดับสากล (3) พัฒนาความมั่นคงพลังงานของประเทศ
และสํงเสริมการใช๎พลังงานที่เป็นมิตรตํอสิ่งแวดล๎อม (4) เพิ่มประสิทธิภาพการใช๎พลังงาน โดยลดความเข๎มข๎นของ
การใช๎พลังงาน และ (5) พัฒนาความมั่นคงด๎านการเกษตร และอาหารของประเทศและชุมชน ในมิติปริมาณ
คุณภาพ ราคาและการเข๎าถึงอาหาร
6. ยกระดับกระบวนทัศน์เพื่อกำหนดอนาคตประเทศ โดย (1) สํงเสริม คุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึง
ประสงค์ด๎านสิ่งแวดล๎อมและคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทย (2) พัฒนาเครื่องมือ กลไกและระบบยุติธรรม และระบบ
ประชาธิปไตย สิ่งแวดล๎อม (3) จัดโครงสร๎างเชิงสถาบันเพื่อจัดการประเด็นรํวม ด๎านการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อมที่สำคัญ และ (4) พัฒนาและดำเนินโครงการที่ยกระดับกระบวนทัศน์ เพื่อ
กำหนดอนาคตประเทศ ด๎านทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล๎อม และวัฒนธรรม บนหลักของการมีสํวนรํวม และ
ธรรมาภิบาล
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ชาติด๎านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มีเป้าหมายการพัฒนาที่
สำคัญเพื่อปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชน เพื่อประชาชนและประโยชน์สํวนรวม ” โดยภาครัฐ
ต๎องมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาท ภารกิจ แยกแยะบทบาทหนํวยงานของรัฐที่ทำหน๎าที่ในการกำกับหรือในการ
ให๎บริการ ยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการท า งานให๎มุํงผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ สํวนรวม มีความ
ทันสมัย และพร๎อมที่จะปรับตัวให๎ทันตํอการเปลี่ยนแปลงของโลก อยูํตลอดเวลา โดยเฉพาะอยํางยิ่งการนำ
นวัตกรรม เทคโนโลยีข๎อมูลขนาดใหญํ ระบบ การทำงานที่เป็นดิจิทัลเข๎ามาประยุกต์ใช๎อยํางคุ๎มคํา และปฏิบัติงาน
เทียบได๎กับ มาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะเปิดกว๎าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให๎ทุกภาคสํวน เข๎ามามีสํวน
รํวมเพื่อตอบสนองความต๎องการของประชาชนได๎อยํางสะดวก รวดเร็ว และโปรํงใส โดยทุกภาคสํวนในสังคมต๎อง
รํวมกันปลูกฝังคํานิยมความซื่อสัตย์สุ จริต ความมัธยัสถ์ และสร๎างจิตสำนึกในการปฏิเสธไมํยอมรับการทุจริต
ประพฤติมิชอบอยําง สิ้นเชิง นอกจากนั้น กฎหมายต๎องมีความชัดเจน มีเพียงเทําที่จำเป็น มีความทันสมัย มีความ
เป็นสากล มีประสิทธิภาพ และนำไปสูํการลดความเหลื่อมล้ำและเอื้อตํอการ พัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมี
การบริหารที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไมํเลือกปฏิบัติและการอ านวยความยุติธรรมตามหลักนิติธรรม
ตัวชี้วัด ประกอบด๎วย (1) ระดับความพึงพอใจของประชาชนตํอการให๎บริการ สาธารณะของภาครัฐ (2)
ประสิทธิภาพของการบริการภาครัฐ (3) ระดับความโปรํงใส การทุจริต ประพฤติมิชอบ และ (4) ความเสมอภาคใน
กระบวนการยุติธรรม โดยประเด็น ยุทธศาสตร์ชาติด๎านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
ประกอบด๎วย 8 ประเด็น ได๎แกํ
1. ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต๎องการ และ ให๎บริการอยํางสะดวกรวดเร็ว
โปรํงใส โดย (1) การให๎บริการสาธารณะของภาครัฐ ได๎มาตรฐานสากลและเป็นระดับแนวหน๎าของภูมิภาค และ (2)
ภาครัฐมีความเชื่อมโยง ในการให๎บริการสาธารณะตําง ๆ ผํานการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช๎
2. ภาครัฐบริหารงานแบบบูรณาการโดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมาย และเชื่อมโยงการพัฒนาในทุก
ระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ และทุกพื้นที่ โดย (1) ให๎ยุทธศาสตร์ชาติเป็นกลไกขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ (2)
ระบบการเงินการคลังประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติด๎านการปรับสมดุล และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 15
สนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติและ (3) ระบบติดตามประเมินผลที่สะท๎อน การบรรลุเปูาหมายยุทธศาสตร์
ชาติในทุกระดับ
3. ภาครัฐมีขนาดเล็กลง เหมาะสมกับภารกิจ สํงเสริมให๎ประชาชนและ ทุกภาคสํวนมีสํวนรํวมในการ
พัฒนาประเทศ โดย (1) ภาครัฐมีขนาดที่เหมาะสม (2) ทุกภาคสํวนมีสํวนรํวมในการพัฒนาประเทศ และ (3)
สํงเสริมการกระจายอำนาจ และสนับสนุนบทบาทชุมชนท๎องถิ่นให๎องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นเป็นหนํวยงานที่มี
สมรรถนะสูง ตั้งอยูํบนหลักธรรมาภิบาล
4. ภาครัฐมีความทันสมัยโดย (1) องค๑กรภาครัฐมีความยืดหยุํนเหมาะสมกับ บริบทการพัฒนาประเทศ
และ (2) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให๎ทันสมัย
5. บุคลากรภาครัฐเป็นคนดีและเกํง ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึก มีความสามารถสูง มุํงมั่น
และเป็นมืออาชีพ โดย (1) ภาครัฐมีการบริหารกำลังคนที่มี ความคลํองตัว ยึดระบบคุณธรรม และ (2) บุคลากร
ภาครัฐยึดคํานิยมในการทำงานเพื่อ ประชาชน มีคุณธรรม และมีการพัฒนาตามเส๎นทางความก๎าวหน๎าในอาชีพ
6. ภาครัฐมีความโปรํงใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดย (1) ประชาชน

เว็บไซต์นี้มีการจัดเก็บคุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานเว็บไซต์ของคุณให้ดียิ่งขึ้น